สารบัญ
โรคซึมเศร้า ที่เกิดจาการทำงานหนัก รู้ทันสัญญาณอันตราย พร้อมวิธีป้องกัน
โรคซึมเศร้า ที่เกิดจาการทำงานหนัก รู้ทันสัญญาณอันตราย พร้อมวิธีป้องกัน ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ที่ประสบภาวะ “ซึมเศร้า” อย่างมากขึ้น โดยล่าสุดรายงานจากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 65 ระบุว่า คนไทยประสบภาวะซึมเศร้าอยู่ที่ 1.5 ล้านคน และเกิดขึ้นกับ “วัยทำงาน” เป็นส่วนใหญ่ โดยสาเหตุหลักเกิดจากผลกระทบด้านการทำงานโดยเฉพาะผู้ที่ทำงานอย่างหนัก หรือมีปัญหาจากการทำงานทำให้เกิดความเครียดและความวิตกกังวลสะสมโดยไม่รู้ตัว และนำมาสู่ภาวะ “ซึมเศร้าจากการทำงาน” ในที่สุด วันนี้ PGSLOT433.COM จึงได้เตรียม บทความดีๆ เพื่อให้เหล่านักเล่น คาสิโน จาก พีจี ของเราห่างไกลจาก โรค ซึมเศร้ามากที่สุด
โดยภาวะดังกล่าวส่งผลกระทบต่อสุขภาพมากกว่าที่คิด เนื่องจากไม่ได้ส่งผลเสียกับแค่สุขภาพจิตเพียงอย่างเดียว แต่ถ้าหากปล่อยไว้นานก็จะส่งผลเสียต่อสุขกายด้วยเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตาม “ภาวะซึมเศร้า” ก็ยังไม่ถือว่าเป็น “โรค ซึมเศร้า” หากปรึกษาจิตแพทย์หรือนักจิตวิทยาได้ทันท่วงที
“โรค ซึมเศร้า” นั้น เป็นโรคทางจิตเวชเกิดจากความเครียดจากการเผชิญปัญหารอบด้าน เช่น ภาวะเศรษฐกิจ โรคระบาด การแข่งขันในสังคม และการทำงาน รวมถึงปัจจัยทางชีวภาพและกรรมพันธุ์ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิต 4,000 รายต่อปี และพยายามฆ่าตัวตาย 53,000 คนต่อปี โดยผู้ป่วยบางรายนั้น เริ่มจากการที่มีภาวะซึมเศร้ามาก่อน แต่ไม่ได้เข้ารับการรักษาในเวลาที่เหมาะสม ส่งผลให้กลายเป็นโรคซึมเศร้าในที่สุด ดังนั้น การป้องกันความรุนแรงภาวะอาการซึมเศร้าตั้งแต่เนิ่นๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องทำอย่างเร่งด่วน
“วัยทำงาน” ต้องเช็กตัวเอง มีอาการไหนบ้าง เพื่อห่วงไกลจาก อาการ ซึมเศร้า
- มีความวิตกกังวล คิดเรื่องงานตลอดเวลา ได้ยินเสียงโทรศัพท์เข้าก็ระแวงว่าจะเป็นเรื่องงาน วิตกกังวลเรื่องงานตั้งแต่ตื่นจนเข้านอน หรือแม้แต่ในความฝัน ยังคงเป็นเรื่องงาน
- เบื่องาน ไม่มีความพอใจในงานที่ทำอยู่ อาการทางอารมณ์นี้ อาจจะเรียกว่า ความรู้สึกหมดไฟในการทำงาน เช่น เบื่องาน ไม่อยากมาทำงาน หาเรื่องหยุดงาน หลีกเลี่ยงการรับงานกันอย่างตั้งใจ ซึ่งจะนำไปสู่ภาวะ Burnout Syndrome, Boreout Syndrome หรือ Brownout Syndrome
- เศร้า สิ้นหวัง การมาทำงานทำให้มีความรู้สึกเป็นทุกข์ เศร้า ท้อแท้ สิ้นหวัง เหมือนจะมองไม่เห็นอนาคตในการทำงานของตัวเอง หรือมองไม่เห็นประโยชน์ในงานที่ทำ รู้สึกว่าสิ่งที่ทำนั้น ไร้ค่าไม่มีความหมาย
- หมดพลัง ตื่นเช้ามาในวันทำงานแล้วรู้สึกไม่สดชื่น ไม่มีแรง และไม่อยากตื่นไปทำงาน แต่ก็ต้องฝืนไป ตั้งแต่ข้อนี้เป็นต้นไป จะเริ่มส่งสัญญาณอันตรายเพราะอาจนำไปสู่การเป็นอาการที่เรียกว่าโรค ซึมเศร้า
- ทำงานอย่างใจลอย ไม่มีสมาธิในการทำงาน ขาดสมาธิ ให้ความสนใจกับงานได้ไม่เต็มที่ จำรายละเอียดงานไม่ได้ จำงานที่หัวหน้าสั่งไม่ได้
- งานผิดพลาดบ่อยขึ้น ต้องแก้งานในส่วนที่ไม่ควรจะผิดพลาดบ่อยขึ้น รายละเอียดงานที่สำคัญหายไป ข้ามขั้นตอนการทำงาน หรือการทำงานไม่ครบขั้นตอน
- ขาด ลา มาสาย แบบตั้งใจ ลาบ่อยจัง ขาดงานแบบตั้งใจบ่อย สายติดกันหลายครั้ง หรือแม้แต่ไลน์กลุ่มก็ไม่อยากอ่าน และไม่อยากที่จะเฉียดเข้าไปที่ทำงาน
- หงุดหงิดง่าย มีปัญหาเรื่องการควบคุมอารมณ์ หากว่าคนในที่ทำงานมาบอกตรงๆ ว่า คุณขี้เหวี่ยง ขี้วีน อารมณ์ร้อน ไม่มีเหตุผล หรือคนในที่ทำงานเริ่มไม่อยากคุย หรือทำงานด้วย ต้องให้รีบสังเกตตัวเองว่ามีปัญหากับหารควบคุมอารมณ์ตัวเองจริงหรือไม่
- การนอนมีปัญหา นอนไม่หลับ นอนมากเกินไป นอนหลับไม่สนิท ฝันร้าย ละเมอ
- มีปัญหาการรับประทานอาหาร ทานมากเกินไป ทานตลอดเวลา ทานไม่เป็นเวลา ใช้เวลาในการทานนานผิดปกติ หรือทานน้อยเกินไป ไม่มีความสุขกับการทานอาหาร
ภาวะซึมเศร้า VS โรค ซึมเศร้า ต่างกัน ต้องแยกให้ออก!
- มีอารมณ์ซึมเศร้า ไม่มีความสุขเหมือนกับเมื่อก่อน มีอารมณ์หงุดหงิด ก้าวร้าว ควบคุมอารมณ์แย่ลง
- ขาดความสนใจ เบื่อ ไม่อยากที่จะทำอะไร และปิดกั้นตัวเองจากคนรอบข้าง
- เบื่ออาหารหรือเจริญอาหารมากขึ้น น้ำหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้นมามากผิดปกติอย่างรวดเร็ว ทานอะไรไม่ลง ไม่อยากอาหาร หรือทานมากกว่าเดิม
- นอนไม่หลับ หรือนอนเยอะกว่าปกติ คิดมากหรือว่าร้องไห้จนนอนไม่ได้ หรือนอนหลับข้ามวัน
- เคลื่อนไหวหรือพูดช้ากว่าปกติ อ่อนเพลีย และก็เหนื่อยตลอดเวลา ไม่มีแรง นอนนานแต่ไม่สดชื่น เพลียตลอดเวลา
- มองโลกในแง่ร้าย โดดเดี่ยว รู้สึกว่าตัวเองไม่มีค่า และมีความรู้สึกผิด มักโทษตัวเอง
- ไม่มีสมาธิ ความจำแย่ลง และขาดการตัดสินใจเรื่องต่างๆ แม้เป็นเรื่องง่าย
- เจ็บปวดตามร่างกายโดยที่ไม่ทราบสาเหตุ หาสาเหตุของอาการป่วยไม่ได้
- มีความคิดจะฆ่าตัวตายหรือพยายามที่จะฆ่าตัวตาย ทำร้ายตัวเองโดยตั้งใจหรือวางแผนไว้แล้ว
รีบเยียวยาภาวะ “ซึมเศร้า” ด้วยตัวเอง ก่อนสายเกินแก้
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ อย่างน้อยๆ 3 วัน/สัปดาห์ ครั้งละ 30 นาที
- นอนอย่างมีวินัย หลับและตื่นนอนให้เป็นเวลา ในระยะเวลาที่เหมาะสม
- รักษาเวลาชีวิตให้เหมาะสม มีตารางเวลา ในการใช้ชีวิต
- กำหนดเป้าหมายชีวิต ทั้งในระยะสั้น กลาง และยาว
- หากิจกรรมใหม่ๆ ทำ เพื่อเพิ่มความสดใสในชีวิต
- พยายามอยู่กับคนที่เรารักและรักเรา เพื่อทำให้เกิดความรู้สึกปลอดภัยในการใช้ชีวิตและสร้างแรงจูงใจในการใช้ชีวิต
พีจีสล็อต เปิดทดลองเล่นฟรี เล่นเกมสล็อค แก้โรคซึมเศร้า แบบไม่ต้องลงทุน
พีจีสล็อต เปิดทดลองเล่นฟรี เล่นเกมสล็อค แก้โรคซึมเศร้า แบบไม่ต้องลงทุน ให้ผู้เล่นได้ทดลองเล่นเกมสล็อตออนไลน์ฟรี เครดิตในเกมมีให้ฟรีตามเงื่อนไขของเว็บไซต์* พร้อมทดลองเล่นฟรีให้ผู้เล่นใหม่ได้ทดลองเล่นก่อนลงสนามจริงกับเรา เว็บสล็อตออนไลน์ PGSLOT433.COM เกมสล็อตของผู้ให้บริการของเราที่เล่นได้จริงทำให้สล็อตสามารถเล่นผ่านเว็บ และบนอุปกรณ์พกพาที่เข้าถึงได้ทุกระบบปฏิบัติการไม่ว่าจะเป็น Android หรือ iOS ก็สามารถเข้ามาเล่น เกมสล็อตออนไลน์ แบบไม่ต้องลงทุนสักบาท เข้าเล่นฟรี โดยไม่ต้องสมัครสมาชิก รองรับการเล่นทุกรูปแบบ สามารถเล่นผ่านหน้าเว็บได้เลย สนใจอ่านรายละเอียดเพิ่มที่ พีจีสล็อต