โรค ขาอยู่ไม่สุข อาจไม่ใช่เรื่องเล็กอย่างที่คิด สังเกตุอาการขณะปั่น สล็อตPG

โรค ขาอยู่ไม่สุข อาจไม่ใช่เรื่องเล็กอย่างที่คิด สังเกตุอาการขณะปั่น สล็อตPG ขาอยู่ไม่สุข อาจไม่ใช่เรื่องเล็กอย่างที่คิด สังเกตุอาการขณะ เล่นคาสิโน กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข หรือเรียกว่า Restless Legs Syndrome เป็นอาการที่ผู้ป่วยรู้สึกยุบยิบเหมือนมีบางสิ่งไต่ที่ต้นขา น่อง หรือเท้า ทำให้อยากขยับขา เพื่อที่จะขจัดความรู้สึกไม่สบายตัวออกไป อาการมักเกิดขึ้นขณะนั่งหรือนอนพัก และเกิดได้บ่อยในช่วงเวลากลางคืน หากอาการรุนแรง ก็อาจรบกวนการนอนหลับและกระทบสุขภาพของผู้ป่วยในระยะยาว

  • Restless Legs Syndrome เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า Willis-Ekbom Disease สามารถพบได้ในทุกช่วงวัย แต่มีโอกาสเกิดกับคนที่อยู่ในวัยกลางคนและพบบ่อยในเพศหญิง สำหรับการรักษา Restless Legs Syndrome ต้องอาศัยการดูแลตนเองและการปรับพฤติกรรม ควบคู่กับการใช้ยารักษาอย่างต่อเนื่อง

อาการของ Restless Legs Syndrome

อาการหลักของ Restless Legs Syndrome คือ ผู้ป่วยจะรู้สึกว่าอยากขยับขาบ่อย ๆ เนื่องจากรู้สึกไม่สบายขา แต่จะแตกต่างจากตะคริวหรือเหน็บชา โดยอาการมักเกิดขึ้น ก็เมื่อไม่ได้เคลื่อนไหวขาเป็นระยะเวลานาน ๆ  เช่น รู้สึกเหมือนมีบางสิ่งไต่บริเวณขา บางรายมีอาการขากระตุก รู้สึกเจ็บเหมือนถูกไฟช็อต ปวดหรือว่าคันที่บริเวณขาทั้งสองข้าง ทำให้รู้สึกอยากขยับขาบ่อยครั้งเพื่อบรรเทาอาการ ในบางกรณีอาจมีอาการที่บริเวณแขน ซึ่งอาการมักปรากฏหลังจากพักการใช้ร่างกายหรือไม่ได้เคลื่อนไหว เช่น เมื่อนั่งหรือนอนเป็นเวลานานจากการเดินทางด้วยรถ เครื่องบิน หรือแม้แต่การนั่งชมภาพยนตร์ และมักมีอาการในช่วงเย็นและในช่วงกลางคืน บางรายอาจเกิดภาวะขากระตุกขณะนอนหลับ ในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงอาจเตะหรือสะบัดขาอย่างแรงระหว่างที่นอนหลับอยู่ ทำให้การนอนหลับไม่ต่อเนื่อง และรู้สึกอ่อนเพลียในวันรุ่งขึ้น และอาการมักจะดีขึ้นเมื่อได้เคลื่อนไหวร่างกาย เช่น ขยับขา ยืดกล้ามเนื้อ เดินหรือวิ่ง เป็นต้น

สาเหตุของ Restless Legs Syndrome

สาเหตุของ Restless Legs Syndrome แม้จะยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าอาการ Restless Legs Syndrome อาจเกิดจากความไม่สมดุลของสารเคมีโดพามีน (Dopamine) ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทในสมองที่มีหน้าที่ ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ จึงทำให้เกิดอาการขาอยู่ไม่สุขได้ อาจเกิดจากสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ดังต่อไปนี้

  • การถ่ายทอดทางพันธุกรรม เนื่องจากเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย สันนิษฐานว่ายีนบางตัวในร่างกายผู้ป่วยมีผลต่อการเกิดอาการนี้ และหากสมาชิกในครอบครัวมีประวัติของอาการนี้มาก่อนก็อาจมีความเสี่ยงที่จะเกิดอาการ Restless Legs Syndrome ได้สูงขึ้น โดยผู้ป่วยมักเริ่มมีอาการช่วงก่อนถึงอายุ 40 ปี
  • อาการประจำตัว จัดเป็นสาเหตุประเภททุติยภูมิ เช่นเบาหวาน ไตวาย เส้นเลือดขอดพาร์กินสันข้ออักเสบรูมาตอยด์ และโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
  • ภาวะตั้งครรภ์และระดับฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลง โดยอาจจะพบอาการครั้งแรกในไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ หรือในกรณีของผู้ป่วย ที่มีอาการอยู่ก่อนแล้ว การตั้งครรภ์อาจจะทำให้อาการแย่ลงได้ อย่างไรก็ตาม อาการอาจจะหายไปได้หลังการให้กำเนิดบุตร
  • ความเสียหายของเส้นประสาทบริเวณปลายนิ้วมือและปลายนิ้วเท้า เนื่องจากเบาหวานหรือภาวะติดสุราเรื้อรัง
  • ความเสียหายหรือได้รับบาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง รวมไปถึงการได้รับการฉีดยาชาที่บริเวณไขสันหลัง หรือการบล็อคหลัง
  • การใช้ยา เช่น ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน ยาต้านอาการทางจิต หรือยาแก้แพ้ เป็นต้น
  • การได้รับสารบางชนิด อย่างเช่น คาเฟอีนและแอลกอฮอล์

การรักษา Restless Legs Syndrome

  • แช่น้ำอุ่นและ ทำการนวดขาในน้ำอุ่นเพื่อช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
  • ประคบร้อน หรือให้ประคบเย็น เมื่อมีอาการเพื่อบรรเทาอาการไม่สบายขา
  • นวดขาหรือยืดกล้ามเนื้อของขาในช่วงเย็นหรือก่อนนอน
  • นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เนื่องจากการที่เราอดนอน อาจจะทำให้รู้สึกอ่อนเพลีย และอาจทำให้อาการแย่ลง โดยกำหนดเวลาเข้านอนและตื่นนอนให้เป็นเวลา และควรจัดห้องนอนให้เงียบที่สุด และมีอุณหภูมิเหมาะสมสำหรับการนอน
  • ออกกำลังกายในระดับปานกลางอย่างสม่ำเสมอ ยกตัวอย่างเช่น เดินหรือว่ายน้ำ ซึ่งอาจช่วยบรรเทาอาการ แต่ไม่ควรทำกิจกรรมที่ใช้แรงมากหรือออกกำลังกายในเวลาเย็นหรือค่ำ เพราะมันอาจจะไปกระตุ้นให้เกิดอาการ
  • หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการรับประทาน หรือการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เช่น ช็อกโกแลต กาแฟ ชา และน้ำอัดลม เป็นต้น
  • เล่นโยคะหรือฝึกสมาธิ เพื่อให้ผ่อนคลายร่างกาย
  • ใช้อุปกรณ์พันเท้า ที่ออกแบบพิเศษสำหรับผู้ป่วย Restless Legs Syndrome ซึ่งจะเพิ่มแรงกดที่บริเวณใต้ฝ่าเท้า และช่วยบรรเทาอาการ
  • การใช้ยา การรับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง อาจจะสามารถช่วยให้อาการดีขึ้นได้ ซึ่งอาจต้องใช้เวลาในการเลือกยาที่เหมาะสมกับอาการของผู้ป่วย และแพทย์อาจทดลองปรับยา โดยมีการประเมินจากอาการของผู้ป่วยเป็นหลัก
โรค ขาอยู่ไม่สุข อาจไม่ใช่เรื่องเล็กอย่างที่คิด สังเกตุอาการขณะปั่น สล็อตPG

โรค ขาอยู่ไม่สุข ขณะปั่นสล็อต อาจเพราะลุ้นกับเกมที่สนุกจาก สล็อตPG

โรค ขาอยู่ไม่สุข ขณะปั่นสล็อต อาจเพราะลุ้นกับเกมที่สนุกจาก PG ขณะที่เรากำลังเพลิดเพลินกับอะไรสักอย่าง จะทำให้เรานั้น มีอาการต่าง ๆ ทางกายออกมาแบบไม่รู้ตัว เช่น การเล่นเกมแนวอาเขต ที่ใช้สมองมาก เราก็จะคิ้วขมวด หรือการเล่นเกมแนวเลี้ยงสัตว์ ก็อาจทำให้เรายิ้มร่าออกมาโดยไม่รู้ตัว ด้วยความน่ารักของสัตว์เลี้ยง การเล่นสล็อตก็เช่นกัน บางครั้ง ผู้เล่นอาจจะลุ้นจนเกินไป จึงทำให้เครียด จนขาอยู่ไม่สุขก็เป็นได้ ซึ่งเกมที่สามารถทำให้อินได้ขนาดนี้ มีอยู่ที่นี่แล้ว ที่ สล็อตPG ของเรานี่เอง ที่มีครบทั้งเกมคุณภาพ บริการครบด้าน รองรับระบบการเดิมเงินทุกช่องทาง สมัครเลย

หน้าแรก
สมัครสมาชิก
โปรโมชั่น
ติดต่อเรา